ค้นหาบล็อกนี้

24/6/56

ต้อนรับรอมฎอน 1432 (ภูเก็ต)



หัวข้อเรื่อง:  เตรียมตัวและหัวใจเข้าสู่เดือนรอมฎอน(รอมฎอนเดือนแห่งเรียนรู้อัลกุรอาน), ทำอย่างไรให้ความหิวกระหายมีความสุข
สถานที่:  มัสญิดนูรุ้ลฮุดา ป่าตอง ภูเก็ต
วันที่:  18.7.11



16/7/55

ถือศีลอดด้วย "หัวใจ"


หัวข้อเรื่อง : รอมฎอนเป็นเดือนแห่งการเปลี่ยนแปลง, อิบาดะฮฺผูกพันกับตักวา (จิตภักดี) ตักวาอยู่ที่หัวใจ มุสลิมจึงต้องปฏิบัติอิบาดะฮฺ (อ่านกุรอาน, ถือศีลอด,ละหมาดกิยามุลลัยลฺ) ด้วยหัวใจ, เปลี่ยนแปลงชีวิตด้วยหัวใจ
สถานที่:  บ้านตานีพันธ์ ริมคลองบางกอกน้อย
วันที่: 15 ก.ค. 55 / 25 ชะอฺบาน 1433
ความยาว(นาที):  78 นาที

รอมฎอนของบรรพชน


สิ่งที่ควรเตรียมพร้อมเพื่อปฏิบัติในเดือนรอมฎอน
  • ปฏิบัติอย่างถูกต้อง
  • ปฏิบัติอย่างสมบูรณ์
  • ปฏิบัติอย่างสวยงาม
  • อิบาดะฮฺในเดือนรอมฎอน

รอมฎอน : เดือนแห่งอัลกุรอาน เดือนแห่งการเปลี่ยนแปลงชีวิต


ตอบปัญหา

  1. ละหมาดซุบฮิตอนฟ้าสว่างแล้วต้องอ่านเสียงดังหรือไม่
  2. ละหมาดตะรอวีหฺ ระหว่างการอ่านซูเราะฮฺยาวๆ โดยการเปิดดูอัลกุรอาน กับการอ่านซูเราะฮฺสั้นๆ เท่าที่อ่านได้ แบบไหนดีกว่ากัน

15/7/55

ปัญหากิยามุลลัยลฺ (ละหมาดกลางคืน)

1. คำถาม :

1. จากหนังสือวิธีละหมาดตามบัญญัติอิสลาม ของอัล-อิศลาหฺสมาคมบางกอกน้อย เมื่อท่านนบีละหมาดตะฮัจญุดนั้น ท่านเริ่มละหมาดด้วย 2 ร็อกอะฮฺสั้นๆ แล้วจะละหมาดต่อไปจนครบจำนวนที่ต้องการ คือ 11 ร็อกอะฮฺให้สลามทุกๆ สองร็อกอะฮฺและสุดท้ายให้ละหมาดวิตริเป็นเอกเทศ ในเดือนนรอมฏอนเรามีการละหมาดตะรอเวียะฮฺ 8 ร็อกอะฮฺ ละหมาดวิตริ 3 ร็อกอะฮฺ รวม 11 ร็อกอะอฺ

วิธีต้อนรับเดือนรอมฎอน 3


วิธีที่ 5 مُدَارَسَةُ أَحْكَامِ الصِّيَام
การศึกษาวิธีถือศีลอดตามบัญญัติอิสลาม
-------------------------------------------

ต้อนรับเดือนรอมฎอนด้วยการศึกษาแสวงหาความรู้ เกี่ยวกับการถือศีลอด และปัญหาที่เกี่ยวข้องที่อาจเกิดขึ้นในเดือนรอมฎอน เพื่อเป็นการเตรียมตัวปฏิบัติอิบาดะฮฺอย่างถูกต้อง เพราะเราถูกใช้ให้ถามผู้รู้ในสิ่งที่เราไม่รู้ ดังนั้นจึงเป็นหน้าที่ของเราทุกๆคนที่ต้องเอาใจใส่ความรู้ในเรื่องนี้ อย่าถือว่าเป็นเรื่องเล็ก เพราะผลกระทบจากการที่ไม่รู้หลักการของการถือศีลอดนั้น อาจทำให้สูญเสียซึ่งผลบุญที่เรามุ่งมั่นแสวงหาอย่างขะมักเขม้น จึงทำให้พวกเราขาดทุนโดยไม่รู้สึกตัว

วิธีต้อนรับเดือนรอมฎอน 2


วิธีที่ 3 الدُّعَاءُ
การวิงวอน(ดุอาอฺ)   
----------------------------------------
การวิงวอน(ดุอาอฺ)ต่ออัลลอฮฺ ให้เรามีชีวิตอยู่เพื่อปฏิบัติอิบาดะฮฺในเดือนรอมฎอนอีกครั้งหนึ่ง ด้วยสุขภาพพลานามัยอันสมบูรณ์

قَالَ أَنَسُ بْنُ مَالِكٍ : كَانَ النَّبِيُّ صَلَّى الله عَلَيْهِ وَسَلَّمَ إِذَا دَخَلَ رَجَب قَالَ : اللَّهُمَّ بَارِكْ لَنَا في رَجَبِ وَشَعْبَانَ وَبَلِّغْنَا رَمَضَانَ .   رواه أحمد والطبراني